Skip to main content
eScholarship
Open Access Publications from the University of California

About

Western Journal of Emergency Medicine International Abstracts

The Western Journal of Emergency Medicine now hosts translated, international abstracts of recent articles. The complete website can be found at http://escholarship.org/uc/uciem_westjem.

Western Journal of Emergency Medicine International Abstracts

There are 7 publications in this collection, published between 2012 and 2012.
WestJEM International Abstracts: Spanish (2)

El ancho del pedículo vascular en la radiografía de tórax como una medida de la sobrecarga de volumen: meta-análisis

Introducción: El ancho del pedículo vascular (en ingles, Vascular pedical width o VPW), una medida conseguida de un radiografía de tórax (en ingles Chest radiograph o CR), se supone ser un indicador del volumen sanguíneo circulante. Hasta la fecha, sólo hay unos cuantos estudios que demuestra una correlación entre una VPW alta y la sobrecarga de volumen, y cada utiliza losvalores diferentes de VPW y las técnicas diferentes de CR. Nuestro objetivo fue determinar una medida del medio VPW de CRs en las posiciones erectas y decúbito supinos, y determinar si el VPW correlaciona con la sobrecarga de volumen.

Métodos: Se busca electrónicamente en MEDLINE base de datos, Web of Science, y la Cochrane Central Register of Controlled Trials para los artículos relevantes. Se busca manualmente las referencias de las publicaciones originales y resúmenes de las publicaciones para mas artículos relevantes. Dos Investigadores examinaron por separado los artículos relevantes para los criterios de inclusión y la extracción de datos. Se calcula el medio VPW de las CRs en las posiciones erectas y decúbito supino, y su correlación con la sobrecarga de volumen.

Resultados: Se incluyen los datos de 8 estudios con un total de 363 SUBJECTS, y se resulta en una medida del medio VPW de 71mm (intervalo de confianza al 95% [IC] 64.9-77.3) para CRs en decúbito supino, y 62mm (95% IC 0.72-0.87) para CRs erectas. Las coeficientes de correlaciones para la sobrecarga de volumen y VPW fueron 0.81 (95% IC 0.74-0.86) para ambas técnicas de CR y 0.81 (IC 95% 0.72-0.87) para CR en decúbito supino y 0.80 (95% IC 0.69-0.87) para CRs erectas.

Conclusión: Hay una correlación clínica y estadística entre VPW y la sobrecarga de volumen. Se puede usar el VPW para evaluar el estatus del volumen en un paciente a pesar de la técnica de CRusada. [West J Emerg Med. 2011;12(4):426–432.]

Propofol y etomidate son seguros para la sedación profunda en la sala de emergencia

Este estudio describe las sedaciones profundas administradas para los procedimientos médicos dolorosos en la sala de emergencia de un hospital académico de tercer nivel durante un período de 18 meses. Se revisan retrospectivamente cien casos consecutivos para describir cuando se indican, las complicaciones, la duración del procedimiento, la dosis del medicamento, y la seguridad de estos sedantes. Se prefiere Propofol y etomidate. Encontramos que había pocas complicaciones (10%), con complicaciones serias en sólo dos de estos casos (2%). Todas las complicaciones fueron breves y no afectaron adversamente los resultados finales de los pacientes. Estos datos demuestran aun mas el perfil de seguridad de los medicamentos de la sedación profunda en manos de los médicos en la sala de emergencia que están capacitadas en la administración de la sedación y en el manejo avanzado de la vía aérea. [West J Emerg Med. 2011;12(4):399-403.]

WestJEM International Abstracts: Thai (5)

กปริมาณสารรังสีที่ได้รับจากการถ่ายภาพเอกซเรย์สำ�หรับแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน

บทนำ  การถ่ายภาพเอกซเรย์ต่างๆทางการแพทย์เป็นสาเหตุส่วนใหญ่ที่ทำให้ชาวอเมริกันต้องสัมผัสกับสารรังสี ซึ่งในห้องฉุกเฉินมักทำการถ่ายภาพเอกซเรย์ต่างๆอยู่เสมอ ผู้วิจัยต้องการศึกษาปริมาณรังสีที่ผู้ป่วยได้รับจากการถ่ายภาพเอกซเรย์ต่างๆโดยเฉพาะการถ่ายภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ รวมทั้งแนวทางที่ทำให้ผู้ป่วยลดการได้รับรังสีโดยไม่จำเป็นที่ห้องฉุกเฉิน

 

วิธีการ ผู้วิจัยทำการทบทวนบทความที่เกี่ยวกับการได้รับสารรังสีภายในห้องฉุกเฉินของปีคศ.2010

 

ผลลัพธ์โดยทั่วไปผู้ป่วยได้รับประโยชน์จากการถ่ายภาพเอกซเรย์มากกว่าความเสี่ยงต่อการได้รับรังสีจนก่อเกิดมะเร็ง อย่างไรก็ดีจากการทบทวนพบว่ามีโรคเฉพาะ3โรคที่ผลกระทบจากโอกาสเสี่ยงต่อการได้รับรังสีจนเกิดมะเร็งมากกว่าผลประโยชน์ต่อผู้ป่วย ได้แก่ โรคลิ่มเลือดอุดตันในปอด ปวดหลัง และเจ็บท้องบ่อยๆในโรคลำไส้อักเสบเรื้อรัง(inflammatory bowel disease)ดังนั้นในโรคเหล่านี้แพทย์ควรปรึกษาร่วมกับผู้ป่วยในการเปรียบเทียบระหว่างประโยชน์ที่ได้รับจากการถ่ายภาพเอกซเรย์และโอกาสเสี่ยงต่อการได้รับรังสีจนเกิดมะเร็ง

 

สรุป   แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉินเป็นด่านแรกที่ทำให้ผู้ป่วยสัมผัสกับสารรังสี ดังนั้นแพทย์จึงควรเข้าใจถึงปริมาณรังสีจากการถ่ายภาพเอกซเรย์ต่างๆที่ส่งผลต่อโอกาสเสี่ยงในการเกิดมะเร็ง  งานวิจัยในอนาคตควรพัฒนาแนวทางที่จะจำกัดผู้ป่วยไม่ให้ได้รับสารรังสีโดยไม่จำเป็น

[West J Emerg Med. 2012;13(2):202–210.]

กปริมาณสารรังสีที่ได้รับจากการถ่ายภาพเอกซเรย์สำ�หรับแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน

บทนำ  การดูแลผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉินมักมีอุปสรรคจากการซักประวัติเก่าของผู้ป่วย  ซึ่งข้อมูลเหล่านี้มักค้นหาจากเวชระเบียนได้เป็นอย่งดี  งานวิจัยนี้ทำการศึกษาความสมัครใจของผู้ป่วยฉุกเฉินและแพทย์ในการนำข้อมูลจากเวชระเบียนมาใช้

วิธีการ เป็นการศึกษาแบบตัดขวาง(cross sectional study)โดยทำการสอบถามผู้ป่วยที่มาใช้บริการในห้องฉุกเฉินทั้งหมด219คนและมีผู้ตอบแบบสอบถามกลับมา184คน(84%)  ผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลของผู้ป่วยทั้งข้อมูลพื้นฐาน  ความสมัครใจ อุปสรรคในการตามเวชระเบียนมาใช้ และให้ผู้ป่วยประเมินความรุนแรงของโรคตนเองออกเป็น5สเกล แบบสอบถามจะสอบถามทั้งผู้ป่วยและแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน  โดยที่แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉินตอบกลับจำนวน210คนจากทั้งหมด219คน(96%)

ผลลัพธ์จากการตอบแบบสอบถามกลับของผู้ป่วยฉุกเฉินจำนวน184คน พบว่า78%ต้องการให้ค้นหาข้อมูลของเวชระเบียนได้ทางอินเตอร์เนตซึ่งเข้าได้กับ 83%ของแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน  นอกจากนี้ยังพบว่ามีจำนวน <10%ต้องการให้บริษัทคอมพิวเตอร์ บริษัทประกันชีวิตหรือรัฐบาลทำการควบคุมฐานข้อมูลประวัติของผู้ป่วย ในขณะที่จำนวน>50%ต้องการให้โรงพยาบาลทำการควบคุมฐานข้อมูลเอง ผู้ป่วยที่ถูกตรวจรักษาโดยแพทย์ที่ไม่ต้องการตามเวชระเบียนมักมีอาการของโรคที่รุนแรงน้อยกว่าแพทยที่ตามหาเวชระเบียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ( 1.5 vs. 2.4, P< 0.01)   รวมทั้งจำนวน57%ของแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉินจะใช้เวชระเบียนถ้าสามารถตามข้อมูลจากเวชระเบียนให้ได้ภายในระยะเวลา< 5นาที

 

สรุป  ส่วนใหญ่ผู้ป่วยและแพทย์ในห้องฉุกเฉินสมัครใจที่จะตามเวชระเบียนโดยเฉพาะในกรณีเป็นผู้ป่วยของโรงพยาบาล แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉินมักค้นหาข้อมูลจากเวชระเบียนโดยเฉพาะเมื่อทำการรักษาในผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงมากๆ  และความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลของผู้ป่วยสำคัญมากต่อการทำงานในห้องฉุกเฉิน

 

[West J Emerg Med. 2012;13(2):172–175.]

การประชุมร่วมของสมาคมภาวะฉุกเฉินทางจิตเวชของประเทศอเมริกาในโครงการ BETA Psychopharmacology เกี่ยวกับเรื่อง……จิตเภสัชวิทยาของภาวะกายใจไม่สงบ

ภาวะกายใจไม่สงบ(agitation)พบบ่อยทั้งในภาวะฉุกเฉินทางอายุรกรรมและจิตเวช การรักษาพยาบาลได้อย่าง เหมาะสมในกรณีดังกล่าวถือเป็นสมรรถนะหลักอย่างหนึ่งของแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน ในบทความนี้ผู้นิพนธ์ ได้รวบรวมการใช้ยารักษาโรคจิตในกลุ่ม first-generation second-generation และยา benzodiazepines เพื่อใช้ ในการรักษาภาวะกายใจไม่สงบ(agitation)ชนิดเฉียบพลัน รวมทั้งนำ�เสนอแนวทางจำ�เพาะในการรักษาภาวะกาย ใจไม่สงบ(agitation)ที่สัมพันธ์กับภาวะต่างๆได้แก่ การได้รับสารพิษ ภาวะจิตเภท อาการเพ้อ(delirium) รวมทั้ง เกิดขึ้นโดยไม่ทราบสาเหตุ การใช้ยาเพื่อรักษาภาวะกายใจไม่สงบควรพิจารณาตามสาเหตุก่อโรคที่เป็นไปได้มาก ที่สุด ถ้าภาวะกายใจไม่สงบเกิดจากอาการเพ้อ(delirium)หรือโรคทางกายอื่นๆ แพทย์ควรทำ�การรักษาสาเหตุก่อ โรคเป็นลำ�ดับแรกแทนที่จะให้เพียงแค่ยารักษาโรคจิตหรือยา benzodiazepines เท่านั้น [West J Emerg Med. 2012;13(1):26–34.]

2 more worksshow all

Related Research Centers & Groups