Skip to main content
eScholarship
Open Access Publications from the University of California

กปริมาณสารรังสีที่ได้รับจากการถ่ายภาพเอกซเรย์สำ�หรับแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน

Creative Commons 'BY' version 3.0 license
Abstract

บทนำ  การดูแลผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉินมักมีอุปสรรคจากการซักประวัติเก่าของผู้ป่วย  ซึ่งข้อมูลเหล่านี้มักค้นหาจากเวชระเบียนได้เป็นอย่งดี  งานวิจัยนี้ทำการศึกษาความสมัครใจของผู้ป่วยฉุกเฉินและแพทย์ในการนำข้อมูลจากเวชระเบียนมาใช้

วิธีการ เป็นการศึกษาแบบตัดขวาง(cross sectional study)โดยทำการสอบถามผู้ป่วยที่มาใช้บริการในห้องฉุกเฉินทั้งหมด219คนและมีผู้ตอบแบบสอบถามกลับมา184คน(84%)  ผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลของผู้ป่วยทั้งข้อมูลพื้นฐาน  ความสมัครใจ อุปสรรคในการตามเวชระเบียนมาใช้ และให้ผู้ป่วยประเมินความรุนแรงของโรคตนเองออกเป็น5สเกล แบบสอบถามจะสอบถามทั้งผู้ป่วยและแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน  โดยที่แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉินตอบกลับจำนวน210คนจากทั้งหมด219คน(96%)

ผลลัพธ์จากการตอบแบบสอบถามกลับของผู้ป่วยฉุกเฉินจำนวน184คน พบว่า78%ต้องการให้ค้นหาข้อมูลของเวชระเบียนได้ทางอินเตอร์เนตซึ่งเข้าได้กับ 83%ของแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน  นอกจากนี้ยังพบว่ามีจำนวน <10%ต้องการให้บริษัทคอมพิวเตอร์ บริษัทประกันชีวิตหรือรัฐบาลทำการควบคุมฐานข้อมูลประวัติของผู้ป่วย ในขณะที่จำนวน>50%ต้องการให้โรงพยาบาลทำการควบคุมฐานข้อมูลเอง ผู้ป่วยที่ถูกตรวจรักษาโดยแพทย์ที่ไม่ต้องการตามเวชระเบียนมักมีอาการของโรคที่รุนแรงน้อยกว่าแพทยที่ตามหาเวชระเบียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ( 1.5 vs. 2.4, P< 0.01)   รวมทั้งจำนวน57%ของแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉินจะใช้เวชระเบียนถ้าสามารถตามข้อมูลจากเวชระเบียนให้ได้ภายในระยะเวลา< 5นาที

 

สรุป  ส่วนใหญ่ผู้ป่วยและแพทย์ในห้องฉุกเฉินสมัครใจที่จะตามเวชระเบียนโดยเฉพาะในกรณีเป็นผู้ป่วยของโรงพยาบาล แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉินมักค้นหาข้อมูลจากเวชระเบียนโดยเฉพาะเมื่อทำการรักษาในผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงมากๆ  และความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลของผู้ป่วยสำคัญมากต่อการทำงานในห้องฉุกเฉิน

 

[West J Emerg Med. 2012;13(2):172–175.]

Main Content
For improved accessibility of PDF content, download the file to your device.
Current View